SEEN strives to the processing of agricultural products through the cutting-edge technology and innovative approaches.

21/6/2566 10:34:49น. 1106
University of Phayao
On June 20th, 2023, a team of lecturers and researchers from the school of Energy and Environment (SEEN), University of Phayao, under the guidance of Assoc. Prof. Dr. Torpong Kreetachat, presenting their project titled "Enhancing the Moisture Reduction Efficiency of Phayao Organic Black Sticky Rice (commonly known as 'Kao-Kaam') in Granola Products Using an Infrared Radiation Drying System and an Intelligent Temperature Control System." According to the community-driven approach with the BCG economic model” to the social innovation driving unit (SID) in the upper northern region, National Innovation Agency (NIA) at Bio Black Community Enterprise, Chun, Phayao.

This project aims to leverage energy knowledge to address challenges in the organic brown rice processing for granola production. By implementing improvements in the production process, enhancing production capacity, and adopting an efficient approach, the project endeavors to seize business expansion opportunities and enhance competitiveness in the trading sector. The project aligns with the principles of the bio-economy strategy, circular economy, and green economy (Bio-Circular-Green Economy) to promote sustainable and effective trade practices.

วันที่ 20 มิถุนายน 2566 อาจารย์และนักวิจัยจากคณะพลังงานและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยพะเยา (SEEN) นำโดย รศ.ดร.ต่อพงศ์ กรีธาชาติ คณบดีฯ นำเสนอความก้าวหน้าและแผนการดำเนินโครงการ "การเพิ่มประสิทธิภาพการลดความชื้นข้าวก่ำอินทรีย์พะเยาในผลิตภัณฑ์กราโนลา ด้วยระบบอบแห้งแบบการแผ่รังสีอินฟาเรดร่วมกับระบบควบคุมอุณหภูมิอัจฉริยะตามแนวทางการขับเคลื่อนชุมชนด้วยโมเดลเศรษฐกิจ BCG” ต่อหน่วยขับเคลื่อนนวัตกรรมเพื่อสังคม (SID) ประจำพื้นที่ภาคเหนือตอนบน สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (NIA) ประจำปีงบประมาณ 2566 ณ วิสาหกิจชุมชนไบโอแบล็ค อำเภอจุน จังหวัดพะเยา
การดำเนินโครงการดังกล่าวเป็นการนำองค์ความรู้ด้านพลังงานในการพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีที่สามารถแก้ไขปัญหาในกระบวนการแปรรูปข้าวก่ำอินทรีย์เป็นกราโนลา ให้กระบวนการผลิตได้รับการปรับปรุง และสามารถเพิ่มกำลังการผลิตได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ สามารถขยายโอกาสทางธุรกิจเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางการค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ และยังสอดคล้องตามยุทธศาสตร์เศรษฐกิจชีวภาพ-เศรษฐกิจหมุนเวียน-เศรษฐกิจสีเขียว (Bio-Circular-Green Economy) ได้อย่างยั่งยืน


    

facebooktwitterline

แท็กที่เกี่ยวข้อง

ภาพ :   นายสุรศักดิ์ ใจหลัก   
ข้อมูล/ข่าว :    นายกฤษณะ วิรัตน์เกษม   
เพิ่มข่าวโดย :   Surasak.ja@up.ac.th   
21/6/2566 10:34:49น. 1106
Print Friendly and PDF

ติดตามข่าวสาร มพ.


ติดตามข่าวสารผ่าน tiktok มพ.

@uptiktok2024

แอปพลิเคชั่น Smart UP

ดาวน์โหลดได้แล้ววันนี้

ข่าวที่มีผู้อ่านสูงสุด ย้อนหลัง 7 วัน