คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์ ได้รับรางวัล “เหรียญทอง” ในงานพะเยาวิจัยครั้งที่ 10 วันที่ 28 มกราคม 2564
ภายใต้การดำเนินโครงการ 1คณะ 1 ชุมชนนวัตกรรม โครงการการพัฒนาชุมชนไทลื้อ อ.เชียงคำ ด้วยนวัตกรรมทางวัฒนธรรมเพื่อคุณภาพชีวิต และรองรับการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม งบประมาณสนับสนุน Flagship (บพท.) และ 1คณะ 1 สัญลักษณ์ความสำเร็จ โครงการ โมเดลชุมชนนวัตกรรมการพัฒนาศิลปะการขับลื้อสร้างอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมอำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา
“ด้วยการให้ความสำคัญกับการบูรณาการศาสตร์ด้านสถาปัตยกรรม และศิลปกรรม ในการทำงานวิจัยสร้างนวัตกรรมบนพื้นฐานวัฒนธรรมชุมชน ร่วมกับพื้นที่ชุมชนวัฒนธรรมไทลื้อ ตำบลหย่วน อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา”
รายนามนักวิจัยภายใต้ชุดโครงการ
ที่ปรึกษาโครงการ
1.จันทนี เพชรานนท์ คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์
2. ปณิธาน ประมูล ที่ปรึกษาโครงการ
นักวิจัย
อาจารย์ ปรียาชนก เกษสุวรรณ หัวหน้าโครงการ
อาจารย์ วรินทร์ รวมสำราญ นักวิจัยร่วม นวัตกรรมสื่อการเรียนรู้สถาปัตยกรรมไทลื้อเชียงคำ
อาจารย์ อาริสรา นุกูล นักวิจัยร่วม นวัตกรรมสื่อการเรียนรู้พืชพื้นถิ่นในเรือนไทลื้อเชียงคำ
อาจารย์ วิริยะ สวัสดิ์จีน นักวิจัยร่วม นวัตกรรมองค์ประกอบการแสดง เพื่อเยาวชนไทลื้อเชียงคำ
อาจารย์ ลิขิต ใจดี นักวิจัยร่วม นวัตกรรมกิจกรรมการขับลื้อ เชียงคำ ลดภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ
ผศ. วีรดา บัวบังใบ นักวิจัยร่วม นวัตกรรมเครื่องเคลือบดินเผาตกแต่งภายนอกอาคาร อัตลักษณ์ไทลื้อเชียงคำ
อาจารย์ บรรเจิด ศรีมูล นักวิจัยร่วม นวัตกรรมการออกแบบเครื่องเรือน อัตลักษณ์ไทลื้อเชียงคำ
อาจารย์รัตนะ ตาแปง หัวหน้าโครงการ นวัตกรรมเพลงขับลื้อเชียงคำ
อาจารย์ธนพงษ์ เด็ดแก้ว นักวิจัยร่วม นวัตกรรมเพลงขับลื้อเชียงคำ
อาจารย์อัษฎาวุธ พลอยเขียว นักวิจัยร่วม นวัตกรรมเพลงขับลื้อเชียงคำ
นายณัฐพล ก๋าคำนัก วิจัยร่วม นวัตกรรมเพลงขับลื้อเชียงคำ
ขอขอบคุณกองบริหารงานวิจัย ผู้มีส่วมร่วม ความช่วยเหลือ สนับสนุนจากชุมชน ทีมวิจัยที่เข้มแข็ง มุ่งมั่นในการทำงานวิจัย บูรณาการกับการเรียนการสอน และขอขอบคุณศิลปวัฒนธรรม มรดกภูมิปัญญาอันงดงามที่นำพาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์สู่ความสำเร็จ